หากลองสังเกตที่การเคลื่อนไหวของ เงินปอนด์ประเทศอังกฤษในช่วงสองสัปดาห์ที่ผ่านมาจะพบว่า "แนวโน้มขาขึ้น" นั้นเกิดขึ้นไม่จริง แรงจูงใจที่เกิดขึ้นอย่างมาก หลังจากที่มีการประกาศถึงช่วงเปลี่ยนผ่านระหว่าง สหราชอาณาจักรอังกฤษ และสหภาพยุโรป รวมทั้งการแถลงการณ์ที่มีแนวโน้มแบบ "การควมคุมเงินเฟ้อ" จากตัวแทนของธนาคารแห่งประเทศอังกฤษ ที่จะช่วยให้คู่สกุลเงินปอนด์และดอลลาร์สหรัฐ (GBP/USD) ได้ปรับตัวขึ้นไปยังระดับสูงสุด ตั้งแต่ที่มีการลงประชามติเกี่ยวกับ การเป็นสมาชิกในสหภาพยุโรป มีผู้คาดการณ์หลายคนได้มองว่าเงินปอนด์อยู่ใน 1.45เหรียญ และในระดับที่สูงกว่านั้นในช่วงปลายปีที่ผ่านมา แต่ ความเป็นจริงแล้วกลับค่อนข้างโหดร้ายกว่านั้นมา จากข้อมูลสถิติที่ออกมา และความเห็นจากคุณ Mark Carney ที่ได้ทำให้ความต้องการของผู้ถือเงินปอนด์ลดลงไป โดยพบว่าจากระดับสูงของเดือนเมษายน กลับลดลงไปจากมูลค่าเดิมถึง 6%
หนังสือพิมพ์ของประเทศอังกฤษก็มักจะออกมาวิพากย์วิจารณ์ต่อ นักเล่นที่เป็นชาวต่างชาติ ดังนั้นแล้ว การแถลงการณ์จากพรรคชาตินิยมในแคนาดาจากคุณ Carney ที่ว่า ธนาคารแห่งประเทศอังกฤษ จะมีการประชุมเพื่อหารือเกี่ยวกับการปรับอัตราดอกเบี้ยตามนโยบาย ซึ่งดูแล้วเป็นเรื่องที่ดูแล้ว ไม่ค่อยจริงจังสักเท่าไหร่ ดังนั้นแล้วผลกระทบต่อมาจากระดับ GDP ในไตรมาสแรก และจากกิจกรรมทางธุรกิจในเดือนเมษายน ก็ได้ลดแนวโน้มต่อการรัดกุม นโยบายทางการเงินลงไปจาก 90% เป็น 10% ในเดือนพฤษภาคม และมันจะเป็นจริงหรือไหมที่จะสามารถผลักดันเงินปอนด์ขึ้นมา?
ทิศทางของแนวโน้มสำหรับการเพิ่มขึ้นของ อัตราดอกเบี้ยตามนโยบาย ในเดือนพฤษภาคม
เงินดอลลาร์สหรัฐ ได้ปรับตัวขึ้นมาจากระดับต่ำ โดยสกุลเงินสหรัฐอเมริกากำลังเดินหน้าเข้าไปสู่ระดับต้นๆในตลาดแล้ว เนื่องจากมีการเติบโตเกิดขึ้นใน อัตราผลตอบแทนของพันธบัตร และการลระดับลงไปอย่างมากของการเก็งกำไรที่อ้างอิงจากเงินยูโรทั้งหมด ดังนั้นแล้ว การลดระดับลงไปของยอด GDP ในยูโรโซน ก็ได้ส่งผลกระทบต่อสหราชอาณาจักรอังกฤษ
มันเหมาะที่จะออกมาต่อว่าคุณ Mark Carney ว่าเป็นคนขี้ขลาดหรือไม่? การถอนตัวออกจาระดับเงินเฟ้อจาก 3% และ ข้อมูลทางสถิติของเศรษฐกิจมหภาคที่ไม่ค่อยดีออกมาใน การผลิตทางอุตสาหกรรม, ยอดการค้าปลีก, ยอด GDP และตัวบ่งชี้อื่นๆอีกด้วย ที่ยังคงทำให้ธนาคารแห่งประเทศอังกฤษต้องเตรียมตัวให้พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงโดยเสมอ ส่วนการปรับตัวครั้งสุดท้ายก็ได้ออกมาจาก การรายงานข้อมูลของกิจกรรมทางธุรกิจในภาคการบริการ ซึ่งคิดเป็น 80% ของยอด GDP ในสหราชอาณาจักรอังกฤษ ดังนั้นแล้วดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อ ได้ปรับตัวขึ้นมาจากระดบัต่ำในรอบ 20 เดือน ที่ 51.7 จนถึง 52.8 ในเดือนมีนาคม แต่ก็ยังไม่ได้ปรับตัวไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์จาก Bloomberg
แต่ถึงอย่างไรก็ตาม คุณ Merrill Lynch ได้ออกมาแนะนำลูกค้าหลายคนว่าต้องระวัง "แนวโน้มขาลง" เอาไว้ โดยธนาคารแห่งประเทศอังกฤษเอง ก็ยังไม่ถอนตัวจากการปรับนโยบายทางการเงินกลับสู่สภาพเดิม ซึ่งมาพร้อมกับการลดลงในความเสี่ยงทางการเมือง ที่ดูแล้วน่าจะมีส่วนช่วยเงินปอนด์ไว้บ้าง สำหรับสถาบันการวิจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจระดับชาติ ได้คาดการณ์ว่า อัตราดอกเบี้ยตามนโยบายอาจจะเพิ่มขึ้นมาในเดือนสิงหาคม และในช่วงที่เหลือของปีนี้ การเติบโตของยอด GDP อยู่ราวๆ 1.7เปอร์เซ็นต์
แต่ก็ดูเหมือนว่า ในวันที่ 10 เดือนพฤษภาคม คุณ Mark Carney และทีมงานของเขาได้ออกมาตัดสินใจว่าจะยังไม่ทำการเปลี่ยนแปลง พารามิเตอร์ของนโยบายทางการเงิน แม้ว่า ประธานของธนาคารแห่งประเทศอังกฤษ จะออกมาให้ความสำคัญกับตลาดแรงงาน รวมทั้งการเติบโตที่เกิดขึ้นในค่าจ้างโดยเฉลี่ย ที่น่าจะช่วยสนับสนุนต่อผู้ถือเงินปนอด์ ถ้าหลายคนเริ่มทำการทยอยขายเงินปอนด์ออกไป แนวโน้มของธนาคารกลาง ก็พอที่จะทำให้มีคนมาเข้าร่วมในการซื้อคู่สกุลเงินปอนด์และดอลลาร์สหรัฐอเมริกา (GBP/USD) ในแนวโน้มขาลงได้ในตอนหลัง
ทางเทคนิคแล้ว การปรับตัวไปหาเป้าหมายที่ 127.2% สำหรับการเกิดกราฟรูปแบบ "ฉลาม" ย่อยๆ ได้มีการเพิ่มแนวโน้มที่จะเกิดการย้อนตัวกลับของคู่สกุลเงิน ที่มีการวิเคราะห์ออกมาว่าอาจจะไปอยู่ในทิศทางที่ 1.37 และ 1.383 ส่วนการปรับตัวใหม่ในระดับต่ำของ เดือนพฤษภาคม ได้สร้างสถานะเบื้องต้นสหรับ การเคลื่อนตัวต่อเนื่องไปยังระดับสูงในทิศทางของเป้าหมาย 88.6% จนไปถึงกราฟรูปแบบ "ฉลาม" หลัก
ชาร์ตรายวัยของคู่สกุลเงิน GBP/USD